คำอธิบายรายวิชา
การเตรียมสารละลาย การเทียบสารละลายมาตรฐาน การวิเคราะห์โดยการชั่งน้ำหนัก การวิเคราะห์โดยการไทเทรต การวิเคราะห์โดยการไทเทรตด้วยเครื่องวัดกรด-เบส การวิเคราะห์โดยเทคนิคสเปกโทรสโกปี
The preparation of reagents; standardization; gravimetric analysis; titrimetric analysis; potentiometric titration; spectroscopic analysis
ปฏิบัติการที่ 1 การวิเคราะห์โดยน้ำหนัก
การทดลองที่ 1.1 : การหาปริมาณซัลเฟตโดยการตกตะกอน [Preview]
ปฏิบัติการที่ 1 การวิเคราะห์โดยน้ำหนัก
การทดลองที่ 1.2 : การหาความชื้นในใบชา [Preview]
ปฏิบัติการที่ 2 การเตรียมสารละลายและการหาความเข้มข้นแน่นอน
การทดลองที่ 2.1 : การเตรียมสารละลายและการหาความเข้มข้นแน่นอนของสารละลาย NaOH
ปฏิบัติการที่ 2 การเตรียมสารละลายและการหาความเข้มข้นแน่นอน
การทดลองที่ 2.2 : การเตรียมสารละลายและการหาความเข้มข้นแน่นอนของสารละลาย HCl
ปฏิบัติการที่ 3 การไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส (Acid-base titration)
การทดลองที่ 3.1 : การหาปริมาณกรดแร่ในน้ำส้มสายชูกลั่น
ปฏิบัติการที่ 3 การไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส (Acid-base titration)
การทดลองที่ 3.2 : การวิเคราะห์ปริมาณอัลคานิตีรวมในโซดาแอช
ปฏิบัติการที่ 4 การวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยวิธีไทเทรต (Titrimetry)
การทดลองที่ 4.1 : การหาปริมาณคลอไรด์โดยวิธีของโมร์
ปฏิบัติการที่ 4 การวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยวิธีไทเทรต (Titrimetry)
การทดลองที่ 4.2 : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ
ปฏิบัติการที่ 4 การวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยวิธีไทเทรต (Titrimetry)
การทดลองที่ 4.3 : การหาความกระด้างรวมในตัวอย่างน้ำ
ปฏิบัติการที่ 5 โพเทนชิโอเมตริกไทเทรชัน (Potentiometric titration)
การทดลองที่ 5.1 : การทำ potentiometric titration
ปฏิบัติการที่ 6 การทำปริมาณวิเคราะห์โดยวิธีสเปกโทรสโกปี
การทดลองที่ 6.1 : การหาปริมาณเหล็กรวมในน้ำโดยวิธียูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตเมตรี
ปฏิบัติการที่ 6 การทำปริมาณวิเคราะห์โดยวิธีสเปกโทรสโกปี
การทดลองที่ 6.2 : การหาปริมาณแอสไพรินด้วยวิธียูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตเมตรี